วันจันทร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ปกป้องดวงตา โรคตา โรคต้อหิน และ ไอไบ้ร์ท (I-BRYTE)

ไอไบ้ร์ท (I-BRYTE) ช่วยปกป้องดวงตา ป้องกันโรคตา และโรคต้อหิน                          


 โรคต้อหิน
     โรคต้อหิน (glaucoma) เกิดจากการทำลายขั้วประสาทตา อาจเกิดขึ้นโดยไม่มีสาเหตุปัจจัยภายนอก หรืออาจพบร่วมกับโรคทางตาอื่นๆ ที่แทรกซ้อนมาจากอุบัติเหตุหรือการผ่าตัดรักษาโรคอื่นๆ ในดวงตา หรือแม้แต่เกี่ยวพันกับโรคทางกายอื่นๆ ถือเป็นปัจจัยเสี่ยงในตัวบุคคลนั้นๆ ที่ทำให้เกิดการเสื่อมของขั้วประสาทตา




     ต้อหิน เป็นต้อเพียงชนิดที่ไม่มีตัวต้อให้เห็น เพราะ ต้อหิน เป็นกลุ่มโรคที่มีการทำลายขั้วประสาทตา ซึ่งเป็นตัวนำกระแสการมองเห็นไปสู่สมอง ซึ่งเมื่อขั้วประสาทตาถูกทำลายจะมีผลทำให้สูญเสียด้านสายตา เมื่อเป็นมากๆ ก็สูญเสียการมองเห็นในที่สุด ซึ่งเป็นการสูญเสียชนิดถาวร ไม่สามารถรักษาให้กลับคืนมามองเห็นได้
      ต้อหิน เป็นหนึ่งในกลุ่มโรคต้อ ตามที่คนเรียกกันโดยทั่วๆ ไป ที่พบบ่อยๆ มีต้อกระจก ต้อเนื้อ ต้อลม และต้อหิน ซึ่งคนที่เป็นส่วนใหญ่มักไม่ทราบว่าตัวเองป่วยเป็นโรคนี้ โดยเฉพาะในระยะแรกๆ พอทราบว่าเป็น ต้อหิน ตาก็มักจะใกล้บอดแล้ว ที่อันตรายที่สุดคือ ถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้องตาจะบอดในที่สุด ไม่ช้าก็เร็ว ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรคในแต่ละบุคคล


ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคต้อหิน
          1.อายุ คนที่มีอายุมากจะมีโอกาสเป็น ต้อหิน มากกว่าคนที่มีอายุน้อย ต้อหิน บางชนิดเกิดในเด็กแรกเกิด หรือกลุ่มเด็กเล็กได้เช่นกัน แต่พบไม่บ่อยเท่าผู้สูงอายุ ต้อหิน ชนิดมุมเปิดพบมากในคนที่มีอายุมากกว่า 40 ปี




         2.ความดันในลูกตาที่เพิ่มสูงขึ้น ซึ่งอาจจะเพิ่มสูงขึ้นเองตามธรรมชาติ เนื่องจากความเสื่อมข้างในลูกตา หรือเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากยาที่ใช้ อุบัติเหตุ หรือการผ่าตัด และการอุดตันบริเวณที่ท่อระบายน้ำหล่อเลี้ยงภายในลูกตา คนที่มีความดันในลูกตาสูงจะมีโอกาสเกิดโรค ต้อหิน ได้มาก
         3.ประวัติครอบครัว หากมีสมาชิกภายในครอบครัว หรือบรรพบุรุษเป็นต้อหินก็จะมีโอกาสเป็น ต้อหิน มากขึ้น และควรได้รับการตรวจเป็นระยะๆ
         4.สายตาสั้นมากหรือยาวมาก พบว่าคนที่มีสายตาสั้นมากๆ จะมีโอกาสเสี่ยงเป็นโรค ต้อหิน ชนิดมุมเปิดมากกว่าคนปกติ และในคนที่สายตายาวมากๆ โดยมีขนาดของลูกตาเล็กกว่าปกติ ก็จะมีโอกาสเป็น ต้อหิน ชนิดมุมปิด
         5.โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง และความผิดปกติทางเลือดและเส้นเลือด ปัจจุบันมีหลักฐานชี้บ่งว่าความเข้มข้นของเลือดที่ผิดปกติอาจสัมพันธ์กับโรค ต้อหิน โรคของเส้นเลือดที่เกี่ยวข้องกับภาวะภูมิคุ้มกันผิดปกติ เช่น โรคลูปัส ก็เป็นปัจจัยเสี่ยง ที่จะมีความผิดปกติของเส้นเลือดที่หล่อเลี้ยงขั้วประสาทตา และทำให้เกิดเป็นโรคต้อหินได้


         6.ผู้ที่ใช้ยาสเตียรอยด์ติดต่อกันเป็นเวลานาน
         7.การได้รับอุบัติเหตุที่ลูกตามาก่อน และโรคตาบางชนิด
อาการของต้อหิน
ประเภทของโรคต้อหิน
         1. โรคต้อหิน ชนิดมุมปิด พบได้ร้อยละ 10 ของทั้งหมด เกิดจากความผิดปกติของโครงสร้างลูกตา ทำให้เกิดการอุดกั้นของน้ำหล่อเลี้ยงในลูกตา กรณีที่เกิดขึ้นเฉียบพลัน ผู้ป่วยจะมีอาการปวดตา ตาแดง ตามัว เมื่อมองไปที่ดวงไฟจะเห็นเป็นวงกลมจ้ารอบดวงไฟ อาการอาจรุนแรงมากจนเกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน และมักไม่หายด้วยการรับประทานยาแก้ปวด ถ้าไม่รักษาตาจะบอดอย่างรวดเร็วภายในเวลาเป็นวันๆ ส่วนชนิดเรื้อรังผู้ป่วยมักไม่ทราบและไม่มีอาการ บางคนอาจมีอาการปวดเล็กน้อยเป็นครั้งคราว เป็นๆ หายๆ อยู่หลายปี และได้รับการรักษาแบบโรคปวดศีรษะโดยไม่ทราบว่าเป็น ต้อหิน


อาการเฉียบพลันของต้อหิน ชนิดมุมปิด 
             1. อาการปวดตา
             2. เมื่อมองไปที่ดวงไฟจะเห็นเป็นวงกลมจ้ารอบดวงไฟ
             3. ตาแดงทันทีทันใด
             4. ปวดมากจนคลื่นไส้อาเจียนต้องมาโรงพยาบาล
             5. ปวดศีรษะมากในตอนเช้า
             6. ความดันตาเพิ่มขึ้นอย่างทันทีทันใด
             7. กระจกตาบวมหรือขุ่น

        2. โรคต้อหินชนิดมุมเปิด พบได้ร้อยละ 60-70 ของทั้งหมด เกิดจากเนื้อเยื่อส่วนที่ทำหน้าที่กรองน้ำหล่อเลี้ยงลูกตาผิดปกติ ทำให้ความดันตาเพิ่มสูงขึ้น และทำลายขั้วประสาทตาในที่สุด แบ่งเป็นชนิดความดันตาสูง และชนิดความดันตาปกติ ผู้ป่วยจะไม่มีอาการปวดตาหรือตาแดง สังเกตพบว่าสายตาค่อยๆ มัวลง อาจสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงในระยะเป็นเดือนหรือเป็นปี หากไม่ได้รับการวินิจฉัย และรักษาทันท่วงทีจะทำให้ตาบอดได้ในที่สุด แต่ถ้าได้รับการวินิจฉัยได้อย่างถูกต้อง และรวดเร็วก็มักจะรักษาสายตาไว้ได้




       3.  โรคต้อหินชนิดแทรกซ้อน เกิดเนื่องจากมีความผิดปกติอย่างอื่นของดวงตา เช่นการอักเสบ ต้อกระจกที่สุกมาก อุบัติเหตุต่อดวงตา เนื่องจากการใช้ยาหยอดตาบางชนิด และภายหลังการผ่าตัดตา เช่นเปลี่ยนกระจกตา หรือการผ่าตัดต้อกระจก
       4.  โรคต้อหินในทารกและเด็กเล็ก พบเกิดร่วมกับความผิดปกติตั้งแต่แรกคลอดของดวงตา อาจมีความผิดปกติทางร่างกายร่วมด้วย โรคนี้ถ่ายทอดทางพันธุกรรมแบบลักษณะด้อย (autosomal recessive) หากทั้งพ่อ และแม่เป็นพาหะ ลูกจะมีโอกาสเป็นโรคนี้ร้อยละ 25 ต้อหิน ในเด็กทารกมักพบตั้งแต่แรกเกิด แม่อาจสังเกตว่าลูกมีขนาดลูกตาใหญ่กว่าเด็กปกติ กลัวแสง กระจกตาหรือส่วนของตาดำจะไม่ใสจนถึงขุ่นขาว และมีน้ำตาไหลมาก หากพบต้องรีบพาเด็กเข้ารับการรักษา ต้อหิน ชนิดเม็ดสี เป็นต้อหินชนิดมุมเปิดที่ถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ พบในคนสายตาสั้นอายุ 20-30 ปี
การที่สายตาสั้นทำให้ม่านตาเกิดเป็นส่วนโค้ง เนื้อเยื่อชั้นสร้างเม็ดสีกระทบกับเลนส์ ทำให้เม็ดสีอุดตัน การไหลเวียนของน้ำหล่อเลี้ยงลูกตาติดขัด และความดันตาเพิ่มสูงขึ้น   
         ส่วนใหญ่โรคต้อหินเป็นชนิดไม่มีอาการ การดำเนินของโรคจากเริ่มเป็น จนถึงการสูญเสียการมองเห็น ใช้เวลานานเป็นปีๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งต้อหินที่เกิดจากความเสื่อม ซึ่งไม่มีอาการใดๆ จนกระทั่งสูญเสียการมองเห็น ซึ่งใช้เวลา 5 - 10 ปี จะเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับว่าจะตรวจพบต้อหินระยะใด เช่น พบตั้งแต่ระยะเพิ่งเริ่มเป็น จะสามารถคุมไว้ได้ และอาจจะไม่สูญเสียการมองเห็น แต่ถ้าตรวจพบต้อหินระยะที่เป็นมากแล้วหรือระยะท้ายๆ ก็อาจสูญเสียการมองเห็นได้ในเวลาอันรวดเร็วเช่นภายในเวลาเป็นเดือน ก็จะตาบอดได้
 
        
       ปัจจุบัน ไอไบ้ร์ท (I-BRYTE)สามารถป้องกันโรคต้อหิน  ได้ผลเร็วสุด ยอดขายสูงที่สุด


 วิธีรับประทาน ไอไบ้ร์ท  (I-BRYTE)
   1.ผู้ป่วยโรคตา ให้รับประทานวันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 2 แคปซูล
   2.รับประทานเป็นอาหารเสริม ผู้ใหญ่ วันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 1 แคปซูล



ไอไบ้ร์ท  (I-BRYTE) เป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ล่าสุดที่ให้ผลจากการรับประทาน 100% เห็นผลจริง รวดเร็ว ชัดเจน จึงขายดีที่สุดในขณะนี้



ผลิตภัณฑ์  ไอไบ้ร์ท (I-BRYTE) ป้องกันโรคต้อหิน อย่างได้ผลชัด ปลอดภัย 100%
ปริมาณและราคา 1 ขวดบรรจุ  30 แคปซูล ราคา 1,900 บาท
เลขที่ อ.ย. 13-1-02950-1-0033

สั่งสินค้าคลิกที่นี้

   ดูข้อมูลที่     http://ibrytesaibua.blogspot.com

สั่งซื้อและเป็นตัวแทนจำหน่ายที่

คุณ  สายบัว   บุญหมื่น    โทร. 088 415 3926

ID Line : bua300908

อีเมล์  sboonmuen@gmail.com

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น